วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บทที่ 5 - การเริ่มต้นความผิด


การกระทำจะบรรลุผลเป็นความผิดสำเร็จขึ้นเมื่อใด สามารถทราบได้โดยพิจารณาตามบทบัญญัติของกฎหมายที่กำหนดหลักเกณฑ์แห่งความผิดนั้นไว้ เมื่อบุคคลได้กระทำการตามที่กฎหมายบัญญัติเป็นความผิดครบถ้วน ก็ถือได้ว่าความผิดได้เกิดขึ้นสำเร็จ การเริ่มต้นกระทำความผิด เริ่มจาก
​1. เจตนา เจตนานั้นย่อมมีความสำคัญในกฎหมาย แล้วแต่ว่าการกระทำที่เป็นการแสดงเจตนานั้นมีผลปรากฏมามากน้อยเพียงใด​
2. ตระเตรียม คือผู้กระทำได้ตระเตรียมการเพื่อการทำความผิด แต่ยังไม่ใช่ลงมือกระทำความผิด การตระเตรียมนี้โดยปกติยังไม่ถือว่าเป็นการเริ่มต้นกระทำความผิดในฐานที่เจตนาจะกระทำ
​3. พยายาม กระทำความผิดมีบัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 80, 81, 82 จากบทบัญญัติทั้ง 3 มาตรานี้ แยกพิจารณาออกได้เป็น 4 ประการ​(1) พยายามกระทำความผิดธรรมดา ​
(2) พยายามกระทำผิด ซึ่งการกระทำนั้นไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้​
(3) พยายามกระทำผิดด้วยความเชื่ออย่างงมงาย
​(4) ยับยั้งการกระทำความผิด​ 1 พยายามกระทำความผิดธรรมดา มีบัญญัติไว้ในมาตรา 80 มีหลักเกณฑ์ คือ​
(1) ผู้กระทำจะต้องมีเจตนากระทำความผิด ​
(2) ผู้กระทำต้องลงมือกระทำความผิดแล้ว
​(3) ผู้กระทำกระทำไปไม่ตลอด หรือกระทำไปตลอดแล้วแต่การกระทำนั้นไม่บรรลุผล​ข้อสังเกต ความผิดที่กระทำโดยประมาทหรือไม่ต้องการเจตนา ไม่มีพยายาม

​2. พยายามกระทำความผิด ซึ่งการกระทำนั้นไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้​ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 81 มีหลักเกณฑ์ดังนี้ ​
(1) กระทำการ ​
(2) โดยมุ่งต่อผลซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด ​(3) การกระทำไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้เพราะ (ก) เหตุปัจจัยซึ่งใช้ในการกระทำ หรือ​(ข) เหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทำต่อ

3. พยายามกระทำความผิดด้วยเชื่ออย่างงมงาย ​มาตรา 81 วรรคท้าย "ถ้าการกระทำดังกล่าวในวรรคแรกได้กระทำไปโดยความเชื่ออย่างงมงายศาลจะไม่ลงโทษก็ได้" การกระทำที่เชื่ออย่างงมงาย เช่น ใช้มนต์คาถาพยายามฆ่าคนเสกเป่าให้เขาเป็นบ้าหรือให้ตาย ทำหุ่นขึ้นเสกเป่าด้วยเวทมนต์ให้หุ่นไปฆ่าคนนั้นเพื่อให้เขาตาย

4. ยับยั้งการกระทำผิด ​ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 82 แยกพิจารณาออกเป็น 3 กรณี คือ ​
(1) การยับยั้งจะต้องกระทำระหว่างที่การกระทำเข้าขั้นพยายาม ตามมาตรา 80 แล้วจนกระทั่งถึงเวลาก่อนที่การกระทำเป็นความผิดสำเร็จ ถ้าการกระทำยังไม่เข้าขั้นพยายามเป็นแต่อยู่ในขั้นตระเตรียมการถึงจะมีการยับยั้งก็ไม่มีผลอย่างไร เพราะในขั้นตระเตรียมไม่ถือว่าลงมือกระทำ เมื่อไม่มีพยายามกระทำความผิดแล้วก็ไม่มีการยับยั้ง ​
(2) หลักเกณฑ์การยับยั้งพยายามกระทำความผิด ได้แก่​(ก) ยับยั้งเสียงเองไม่กระทำการให้ตลอด ​หมายความว่าได้ลงมือกระทำความผิดแล้ว แต่กระทำไปไม่ตลอด เพราะผู้กระทำยับยั้งเสียเองโดยสมัครใจ ไม่ว่าการยับยั้งนั่นจะเกิดโดยเหตุภายในตัวผู้กระทำเองหรือเพราะเหตุภายนอกทำให้ยับยั้งโดยสมัครในไม่กระทำการให้ตลอด ไม่ใช่มีอุปสรรคมาขัดขวาง เช่น พิพากษาศาลฎีกาที่ 230/2502 จำเลยกับพวกขู่เอาเงินผู้เสียหาย ผู้เสียหายคนหนึ่งร้องทักขึ้นเพราะรู้จักจำเลย จำเลยจึงร้องว่าหยุดเว้ยพวกเดียวกัน แล้วก็จากไป เป็นการยับยั้งเสียเอง​แก้ไขไม่ให้การกระทำนั้นบรรลุผลตามมาตรา 82 เป็นการพยายามกระทำความผิดที่เกิดขึ้นแล้ว เพียงแต่กฎหมายไม่เอาโทษ แต่เนื่องจากจำเลยกระทำการยิงเจ้าพนักงานไม่สำเร็จเพราะตำรวจเข้าขัดขวาง โทษของจำเลยในการพยายามกระทำความผิดยังคงมีอยู่ ​(ข) กลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทำนั้นบรรลุผล ​หมายความว่าการกระทำนั้นได้ลงมือกระทำไปตลอดแล้ว แต่ไม่บรรลุผล เพราะแทนที่จะกระทำตามความประสงค์กลับแก้ไขให้เป็นอย่างอื่น เช่น ​คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1218/2530 จำเลยหลอกผู้เสียหายไปที่บ้าน แล้วพาไปนอนบนกระดาน ถอดกางเกงผู้เสียหายและจำเลยออก แล้วจำเลยใช้อวัยวะเพศดันไปตรงอวัยวะเพศของผู้เสียหายเพียงครั้งเดียว โดยอวัยวะเพศของผู้เสียหายไม่มีบาดแผล จำเลยไม่ได้กระทำซ้ำต่อไปจนสำเร็จความใคร่ ทั้งๆที่จำเลยมีโอกาส นับได้ว่าเป็นการยับยั้งเสียเองไม่กระทำไปให้ตลอดสำเร็จขึ้นเมื่อใด สามารถทราบได้โดยพิจารณาตามบทบัญญัติของกฎหมายที่กำหนดหลักเกณฑ์แห่งความผิดนั้นไว้ เมื่อบุคคลได้กระทำการตามที่กฎหมายบัญญัติเป็นความผิดครบถ้วน ก็ถือได้ว่าความผิดได้เกิดขึ้นสำเร็จ การเริ่มต้นกระทำความผิด เริ่มจาก​

1. เจตนา เจตนานั้นย่อมมีความสำคัญในกฎหมาย แล้วแต่ว่าการกระทำที่เป็นการแสดงเจตนานั้นมีผลปรากฏมามากน้อยเพียงใด

​2. ตระเตรียม คือผู้กระทำได้ตระเตรียมการเพื่อการทำความผิด แต่ยังไม่ใช่ลงมือกระทำความผิด การตระเตรียมนี้โดยปกติยังไม่ถือว่าเป็นการเริ่มต้นกระทำความผิดในฐานที่เจตนาจะกระทำ​3. พยายาม กระทำความผิดมีบัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 80, 81, 82 จากบทบัญญัติทั้ง 3 มาตรานี้ แยกพิจารณาออกได้เป็น 4 ประการ​
(1) พยายามกระทำความผิดธรรมดา ​
(2) พยายามกระทำผิด ซึ่งการกระทำนั้นไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
​(3) พยายามกระทำผิดด้วยความเชื่ออย่างงมงาย​
(4) ยับยั้งการกระทำความผิด​

พยายามกระทำความผิดธรรมดามีบัญญัติไว้ในมาตรา 80 มี หลักเกณฑ์ คือ​
(1) ผู้กระทำจะต้องมีเจตนากระทำความผิด ​
(2) ผู้กระทำต้องลงมือกระทำความผิดแล้ว​
(3) ผู้กระทำกระทำไปไม่ตลอด หรือกระทำไปตลอดแล้วแต่การกระทำนั้นไม่บรรลุผล​ข้อสังเกต ความผิดที่กระทำโดยประมาทหรือไม่ต้องการเจตนา ไม่มีพยายาม​

2. พยายามกระทำความผิด ซึ่งการกระทำนั้นไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้​ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 81 มีหลักเกณฑ์ดังนี้ ​(1) กระทำการ ​
(2) โดยมุ่งต่อผลซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด
(3) การกระทำไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้เพราะ
​(ก) เหตุปัจจัยซึ่งใช้ในการกระทำ หรือ​(ข) เหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทำต่อ

3. พยายามกระทำความผิดด้วยเชื่ออย่างงมงาย ​มาตรา 81 วรรคท้าย "ถ้าการกระทำดังกล่าวในวรรคแรกได้กระทำไปโดยความเชื่ออย่างงมงายศาลจะไม่ลงโทษก็ได้" การกระทำที่เชื่ออย่างงมงาย เช่น ใช้มนต์คาถาพยายามฆ่าคนเสกเป่าให้เขาเป็นบ้าหรือให้ตาย ทำหุ่นขึ้นเสกเป่าด้วยเวทมนต์ให้หุ่นไปฆ่าคนนั้นเพื่อให้เขาตาย

4. ยับยั้งการกระทำผิด ​ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 82 แยกพิจารณาออกเป็น 3 กรณี คือ

(1) การยับยั้งจะต้องกระทำระหว่างที่การกระทำเข้าขั้นพยายาม ตามมาตรา 80 แล้วจนกระทั่งถึงเวลาก่อนที่การกระทำเป็นความผิดสำเร็จ ถ้าการกระทำยังไม่เข้าขั้นพยายามเป็นแต่อยู่ในขั้นตระเตรียมการถึงจะมีการยับยั้งก็ไม่มีผลอย่างไร เพราะในขั้นตระเตรียมไม่ถือว่าลงมือกระทำ เมื่อไม่มีพยายามกระทำความผิดแล้วก็ไม่มีการยับยั้ง ​

(2) หลักเกณฑ์การยับยั้งพยายามกระทำความผิด ได้แก่​
(ก) ยับยั้งเสียงเองไม่กระทำการให้ตลอด ​หมายความว่าได้ลงมือกระทำความผิดแล้ว แต่กระทำไปไม่ตลอด เพราะผู้กระทำยับยั้งเสียเองโดยสมัครใจ ไม่ว่าการยับยั้งนั่นจะเกิดโดยเหตุภายในตัวผู้กระทำเองหรือเพราะเหตุภายนอกทำให้ยับยั้งโดยสมัครในไม่กระทำการให้ตลอด ไม่ใช่มีอุปสรรคมาขัดขวาง เช่น พิพากษาศาลฎีกาที่ 230/2502 จำเลยกับพวกขู่เอาเงินผู้เสียหาย ผู้เสียหายคนหนึ่งร้องทักขึ้นเพราะรู้จักจำเลย จำเลยจึงร้องว่าหยุดเว้ยพวกเดียวกัน แล้วก็จากไป เป็นการยับยั้งเสียเอง​แก้ไขไม่ให้การกระทำนั้นบรรลุผลตามมาตรา 82 เป็นการพยายามกระทำความผิดที่เกิดขึ้นแล้ว เพียงแต่กฎหมายไม่เอาโทษ แต่เนื่องจากจำเลยกระทำการยิงเจ้าพนักงานไม่สำเร็จเพราะตำรวจเข้าขัดขวาง โทษของจำเลยในการพยายามกระทำความผิดยังคงมีอยู่ ​

(ข) กลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทำนั้นบรรลุผล ​หมายความว่าการกระทำนั้นได้ลงมือกระทำไปตลอดแล้ว แต่ไม่บรรลุผล เพราะแทนที่จะกระทำตามความประสงค์กลับแก้ไขให้เป็นอย่างอื่น เช่น ​ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1218/2530 จำเลยหลอกผู้เสียหายไปที่บ้าน แล้วพาไปนอนบนกระดาน ถอดกางเกงผู้เสียหายและจำเลยออก แล้วจำเลยใช้อวัยวะเพศดันไปตรงอวัยวะเพศของผู้เสียหายเพียงครั้งเดียว โดยอวัยวะเพศของผู้เสียหายไม่มีบาดแผล จำเลยไม่ได้กระทำซ้ำต่อไปจนสำเร็จความใคร่ ทั้ง ๆ ที่จำเลยมีโอกาส นับได้ว่าเป็นการยับยั้งเสียเองไม่กระทำไปให้ตลอด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น